samedi 6 août 2011

ข้อมูล สถานที่ท่องเที่ยวในฝรั่งเศส

หอไอเฟล



หอคอยเหมือนเป็นสิ่งที่ชาญฉลาดทางเทคโนโลยี ในอดีตไม่เคยมีใครสร้างหอคอยที่สูงกว่า 1,000 ฟุต หลายคนพยายามลอง แม้กระทั่งในสหรัฐอเมริกาก็มีการออกแบบไว้อยู่หลายแบบ แต่ก็ไม่เคยสร้างจริงขึ้นมา ฝรั่งเศสได้จัดการประกวดเพื่อออกแบบหอคอย แบบแรกถูกเสนอโดย เวอร์ริส คล็อกลิน ซึ่งเป็นหนึ่งในคณะวิศวกรของ กุสตาฟ ไอ-เฟล (Gustave Eiffel)
กุสตาฟ ไอเฟล เป็นทั้งสถาปนิกและวิศวกรชั้นนำของฝรั่งเศส ชื่อเสียงของเขาเกิดจาก การออกแบบสะพานที่เต็มไปด้วยจินตนาการ เขาค้นคว้าเกี่ยวกับแนวคิดในการออกแบบด้วยโครงสร้างโลหะ การที่มี กุสตาฟ ไอเฟล เข้ามาร่วมงาน จึงเป็นเครื่องรับประกันในเรื่องเงินทุนสนับสนุน และความสำเร็จของงาน วิศวกรหนุ่มของ กุสตาฟ ไอเฟล 2 คน คือ เวอร์ริส คล็อกลิน และ เอมิล นูลจิเย เริ่มแนวคิดในการสร้างหอคอยสูง 300 เมตร สำหรับงานแสดงสินค้าในปี ค.ศ.1890 ในปารีสเขาเริ่มร่างแบบโครงสร้างของหอ-คอยอย่างคร่าวๆ และขอให้สถาปนิกชื่อ สตีเฟน สเตาว์เธอร์ ออกแบบส่วนตกแต่งเพื่อเติม ซึ่งมีลักษณะเป็นช่อดอกไม้ โค้ง และมีปติมากรรมเล็กๆ น้อยๆ โดยมีแรงบันดาลใจมาจากแนวคิดทางสถาปัตยกรรมฝรั่งเศส ในปี ค.ศ.1887 ว่า สามารถสัมผัสกับท้องฟ้าในระดับที่เป็นไปไม่ได้ คือ 1,000 ฟุต
กุสตาฟ ไอเฟล ได้เห็นแบบแปลนและอนุมัติ เขาได้สนใจแนวคิดเกี่ยวกับหอคอยนี้ และได้ออกแบบส่วนตกแต่งเพิ่มเติมที่เกี่ยวข้องกับตัวเขาเข้าไปด้วย การมีชื่อ กุสตาฟ ไอเฟล อยู่ในโครงการ ทุกคนรู้ผลลัพธ์ของการแข่งขันนี้ การมีสายสัมพันธ์ทางการเมืองและสังคมของกุสตาฟ ไอเฟล ทำให้มีความพร้อมที่จะผลักดันให้โครงการผ่านหน่วยงานปกครองของปารีสได้อย่างรวดเร็ว และทำให้โครงการจากแบบแปลนสำเร็จเป็นจริงได้ หอคอยซึ่งออกแบบจากความก้าวหน้าในยุคอุตสาหกรรม เป็น งานที่มีความท้าทายทางวิศวกรรม และ กุสตาฟ ไอเฟล จะได้แสดงให้เห็นถึงความความคิดสร้างสรรค์ของเขาที่เคยใช้ในการออกแบบมาแล้ว
28 กุมภาพันธ์ ค.ศ.1887 กุสตาฟ ไอเฟล ได้เชิญแขกมากมายมาเป็นพยานในการก่อสร้าง เขาอายุ 53 ปี และหอคอยจะเป็นความสำเร็จที่สมบูรณ์แบบของเขา ในขณะที่พิธีการเริ่มขึ้น วิศวกร 50 คนต้องช่วยกันร่างแบบ จำนวน 5,300 แผ่นสำหรับคนงาน 132 คน ใช้ในพื้นที่ก่อสร้าง ต้องใช้เวลา 4 เดือน ในการทำฐานรากสำหรับขาของหอ-คอย เสา 2 ต้น ถูกติดตั้งบนฐานคอนกรีตหนา 6 ฟุตครึ่ง ที่ความลึก 23 ฟุตจากระดับดิน และมีขา 2 ข้างที่ใกล้กับแม่น้ำแซนมาก จึงต้องใช้เขื่อนโลหะกันน้ำ ป้องกันในขณะที่ทำการเทคอนกรีตบนพื้นที่อยู่ต่ำกว่าระดับน้ำ
หมุด 2 ล้าน 5 แสนตัว ที่ใช้ยึดโครงเหล็กของหอไอเฟล
บนพื้นที่สี่เหลี่ยมจตุรัสของฐานหอคอยมีความกว้างด้านละ 426 ฟุต จะมีขาของหอคอยทั้ง 4 ในแต่ละด้าน รองรับน้ำหนักของโครงสร้างโลหะกว่า 7,000 ตัน บนฐานจะเป็นฐานก่ออิฐซึ่งจะฝังสมอยึด 2 ตัวสำหรับขาแต่ละข้าง จากฐานนี้ ขาจะถูกขึ้นเป็นมุม 60 องศาในลักษณะคานโครงเหล็ก คานนี้ประกอบไปด้วยท่อนเหล็กและเหล็กแผ่นที่ถูกยึดติดกันที่ด้านข้าง โครงสร้างที่ได้จะมีความเข็งแรงมาก แต่มีนำหนักเบา ประกอบง่าย ใช้มาตรฐานเดียวกัน และ มีราคาไม่แพง เมื่อประกอบเสร็จจะใช้ชิ้นส่วนโลหะทั้งหมด 18,000 ชิ้น และหมุดยึดอีก 2 ล้าน 5 แสน ตัว เพื่อประกอบเป็นหอคอย ทั้งหมดใช้เพียงเหล็กท่อนแบนและแผ่นเหล็กในการประกอบ
กุสตาฟ ไอเฟล เป็นคนแรกที่เดินขึ้นบันได 1,710 ขั้น เพื่อขึ้นไปที่จุดสูงสุดของหอคอย แล้วแขวนธงชาติ 3 สีของฝรั่งเศส มีการเปิดงานแสดงสินค้าในปี ค.ศ.1889 ในกรุงปารีส งานชิ้นเอก คือหอคอยที่สูงกว่า 300 เมตรที่งดงาม และในที่สุดมันจะเป็นที่รู้จักในนาม หอไอเฟล
ตอนแรกหอคอยถูกเรียกว่า หอคอยแห่ง 320 เมตร , หอคอย 320 เมตร ต่อมามันก็กลายเป็น หอไอเฟล หอไอเฟลถูกวางในพื้นที่ราบเรียบของปารีส และก็ ทำรายได้มหาศาลให้กับ กุสตาฟ ไอเฟล เนื่องจากความมั่นใจถึงความสำเร็จของเขา กุสตาฟ ไอเฟล ได้ออกเงินในการก่อสร้างกว่า 80% และทำสัญญาเป็นผู้ดูแลหอนี้เป็นเวลา 20 ปี กุสตาฟ ไอเฟล มีห้องพักอยู่บนหอคอย ที่ซึ่งเขาทำการทดลองทางวิทยาศาสตร์ และพบปะแขกคนสำคัญ ในปีแรก นักท่องเที่ยวกว่า 2 ล้านคน เดินทางขึ้นลิฟท์เพื่อชมทัศนียภาพของปารีสบนยอดหอคอย ก่อให้เกิดรายได้กว่า 1 ล้านดอลลาร์
กุสตาฟ ไอเฟล มีรายได้มาจากหอไอเฟลมาก เขาอาจเป็นวีรบุรุษของฝรั่งเศสในปี ค.ศ.1889 แต่อีก 1 ปี หลังจากนั้นเขาถูกตัดสินให้มีความผิด ในการหากำไรกับความล้มเหลวของฝรั่งเศสในการก่อสร้างคลองปานามา โครงการนี้เป็นความฝันของวิศวกรชาวฝรั่งเศสชื่อ เฟอร์ดินาน เดอ เลเซต ซึ่งประสบความสำเร็จในการสร้างคลองสุเอด และตั้งใจจะทำเช่นนี้อีกในปานามา เดอ เลเซต ได้เชิญ ไอเฟล มาให้คำแนะนำในทางวิศวกรรมในการสร้างทางน้ำผ่านป่าทึบ ไอเฟล ได้เสนอแนวคิดระบบปิดกันน้ำแบบใหม่ แต่ เดอ เลเซต ไม่เห็นด้วย ผลที่ตามมาคือหายนะ การขุดคลอดไม่สามารถทำผ่านป่าทึบได้ รัฐบาลฝรั่งเศสแทบล้มลาย ผลกระทบทางการเมืองรุนแรงมาก ผู้ที่เกี่ยวข้องถูกประนาม- และ ไอเฟลก็ถูกตัดสินจำคุก 24 เดือน ซึ่งภายหลังถูกยกเลิก แต่บัดนี้ ไอเฟล ก็หมดความปรารถนาในการก่อสร้าง และไม่ได้สร้างอะไรอีกเลย
ขณะนั้น ไอเฟล มีอายุ 73 ปี และได้อุทิศตนให้กับงานด้านวิทยาศาสตร์ โดยให้ความสำคัญกับการค้นคว้าเกี่ยวกับ อากาศพลศาสตร์ และ ได้สร้างห้องทดลองของตนขึ้นและ ยังคงเปิดทำการจนถึงทุกวันนี้ กุสตาฟ ไอเฟล ทดสอบแรงต้านทานของลมเป็นครั้งแรก เพราะตลอดเวลาการทำงานที่ผ่านมาของเขา ลมคือศัตรูหมายหนึ่ง ในช่วง ค.ศ.1906-1909 ไอเฟล ตั้งคำถามมากมายเกี่ยวกับอากาศพลศาสตร์ และได้สร้างอุโมงค์ลมขึ้นเป็นแห่งแรก และเป็นจุดกำเนิดของการศึกษาด้านการบินของฝรั่งเศส
กุสตาฟ ไอเฟล เป็นวิศวกรที่ยอดเยี่ยมและเป็นผู้มีวิสัยทัศน์ในการสร้างหอคอยสูง 300 เมตร ในตอนแรกมีความตั้งใจว่าหอคอยนี้ จะมีอายุการใช้งานเพียง 20 ปี เขาเริ่มคุ้นเคยกับสถานะภาพชั้นสูงของปารีส และต่อมาเขาพยายามอย่างมากในการรักษาหอคอยเอาไว้ วิทยุเป็นสิ่งที่รักษาหอคอยเอาไว้ เนื่องจากความสูงของมัน สัญญาณวิทยุสา -มารถส่งไปถึงอเมริกาเหนือได้ ถึงแม้ต่อมาก็มีคำสั่งให้รื้อทิ้งในปี ค.ศ.1909 แต่หอไอเฟลก็รอดพ้นมาได้ โดย ช่วยเป็นเสาวิทยุให้ฝรั่งเศสติดตามสงคราม ที่กำลังก่อตัวขึ้นในเยอรมนี
มันถูกออกแบบให้เป็นผลงานชิ้นเอกในงานแสดงสินค้านานาชาติในปี ค.ศ.1889 บัดนี้นับกว่า 1 ศตวรรษการฉลองยังคงดำเนินต่อไป ขณะที่ผู้คนมากกว่า 1 พันคนได้มาเยี่ยมชมหอไอเฟลทุกๆ ชั่วโมง โดยมีลิฟท์ 4 ตัว ลิฟท์ 1 ตัวต่อ 1 ขา เคลื่อนที่ทำมุม 60 องศา หัวใจสำคัญในการเคลื่อนที่อยู่ภายใต้ขาหอคอยภายในสุสานใต้ดินนับร้อยปี -โดยใช้น้ำภายใต้แรงดันเป็นตัวขับลูกสูบไปผลักล้อเลื่อนให้ดึงสายเคเบิลขึ้นไป เทคโนโลยีอายุร้อยปีถูกหล่อลื่นด้วยไขมันแกะและยังทำงานได้อย่างดี และลิฟท์ที่ชั้น 3 จะขนผู้โดยสายขึ้นไปบนยอดหอคอย
ที่บนสุด งานบำรุงรักษาดำเนินงานทุกวัน กลุ่มคนงาน 25 คนจะเดินไปตามนั่งร้านเหล็ก ซึ่งมีระยะเวลาดำเนินงาน 18 เดือน ในการทาสีหอคอย ได้ใช้สีมากกว่า 50 ตัน - งานที่ต้องทำซ้ำๆ ในทุกๆ 7 ปี ไม่เพียงแต่ช่างทาสีที่อยู่บนหอคอยนี้เท่านั้น ช่างไฟฟ้าก็เดินดูตรวจตราหอคอยนี้ด้วยเหมือนกัน เพราะมันจะต้องมีแผงทำความร้อนเพื่อควบคุมอุณหภูมิน้ำในท่อไม่ให้แข็งเพื่อป้องกันไม่ให้ท่อแตกเมื่ออุณหภูมิต่ำว่า -40 องศาฟาเรนไฮด์ และต้องดูแลหลอดไฟ 360 หลอด ซึ่งได้รับการตรวจสอบ และทำการเปลี่ยนเป็น-ประจำ เพื่อความสวยงามของหอคอย สีทีทาบนหอไอเฟล จะมีโทนสีเหลือง และการที่ถูกส่องด้วยไฟสีเหลือง ก็จะช่วยให้หอไอเฟล ถูกขับออกมาให้เด่นชัดมากขึ้น การให้แสงสว่างก็เพื่อให้หอไอเฟลเป็นดาวเด่นแห่งกรุงปารีส
ท้องฟ้าสีกุหลาบยามเย็น กัดสีผนังลายหินอ่อนของสถาปัตยกรรมในปารีส หอไอเฟลก็ยังคงตั้งอยู่ในฐานะของความมหัศจรรย์ทางเทคโนโลยี ความสำเร็จทางวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม เป็นสัญลักษณ์แห่งกรุงปารีส และ เป็นยังคงเป็นจิตวิญญาณของฝรั่งเศสเรื่อยไป


พระราชวังแวร์ซาย

พระราชวังแวร์ซายส์เป็นพระราชวังที่เก่าแก่ อยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของกรุงปารีส แต่เดิมเป็นเพียงหมู่บ้านของชาวนา พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ซึ่งทรงเป็นนักล่าสัตว์ได้มาพบจึงสร้างเป็นสถานที่นัดพบในการล่าสัตว์ และได้มีการขยายออกไปทีละเล็กทีละน้อย จนกระทั่งกลายมาเป็นปราสาท พระราชวัง และมีการเลี้ยงฉลองกันเรื่อยมา
ปัจจุบัน พระราชวังนี้เป็นสัญญลักษณ์แห่งความรุ่งโรจน์ของศิลปะและราชสำนักฝรั่งเศส สถาปนิกและวิศวกรรวมรวมทั้งมัณฑนากรหลายคน เช่น Le Vau, Mansart, Gabriel, Le Brun, Le Nôtre ได้ช่วยกันก่อสร้าง ตกแต่ง จนได้รับยกย่องว่าเป็นพระราชวังที่งดงามมาก ภายในพระราชวังมีภาพวาด ภาพแกะสลักซึ่งแสดงให้เห็นเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ของฝรั่งเศสหลายสมัย สถานที่แห่งนี้ใช้เป็นที่เซ็นสัญญาสงบศึกกับอเมริกา ในปี ค.ศ 1783
แวร์ซายส์ นับเป็นส่วนหนึ่งของแรงผลักดันที่ก่อให้เกิดการปฏิวัติครั้งใหญ่ในฝรั่งเศส เมื่อปี คศ 1789 ต่อมา ในปี ค.ศ 1815 พระเจ้าหลุยส์-ฟิลิปป์ได้เปลี่ยนสภาพพระราชวังแห่งนี้ให้เป็นพิพิธภัณฑ์ และใช้เป็นสถานที่ลงนามในสัญญาสงบศึกสงครามโลกครั้งที่ 1 ระหว่างฝ่ายสัมพันธมิตรกับเยอรมัน เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 1919

นอกจากเครื่องประดับที่เก่าแก่ และสูงค่าแล้ว การจัดสวนก็เป็นที่ยอมรับกันทั่วไปว่างดงามยิ่งนัก เพราะมีการตกแต่งประดับประดาด้วยดอกไม้หลากสีสวยงามมาก โดยเฉพาะตอนฤดูใบไม้ผลิและฤดูร้อน ส่วนที่เป็นป่าสำหรับล่าสัตว์ ปัจจุบันใช้เป็นที่ๆให้ผู้เข้าชมไปเดินเล่นพักผ่อน และมีม้าหินให้นั่งเล่นเป็นระยะๆ
สิ่งที่ผู้เข้าชมพระราชวังจะอดชื่นชมไม่ได้ คือ น้ำพุ มีน้ำพุมากมายและสวยงาม มีชื่อตามเทพเจ้ากรีกและโรมันต่างๆ เช่น อพอลโล และลาโตนเป็นต้น

พิพิธภัณฑ์ลูฟวร์



แต่เดิมเป็นพระราชวังที่ใหญ่โตมากที่สุดของโลก สร้างขึ้นในสมัยพระเจ้าฟิลิปป์ ออกุสต์ ในปี ค.ศ 1204 แต่มาเสร็จในสมัยพระเจ้านโปเลียนที่ 3 ปี ค.ศ 1856 รวมใช้เวลาก่อสร้างถึง 7 รัชกาล เริ่มเปลี่ยนสภาพเป็นพิพิธภัณฑ์ ตั้งแต่ ค.ศ 1791 ปัจจุบันพระราชวังเก่าแก่แห่งนี้ มีสภาพเป็นพิพิธภัณฑ์ที่สำคัญและใหญ่โตที่สุดในปารีส ภายในพิพิธภัณฑ์แห่งนี้เป็นที่เก็บรักษาวัตถุโบราณต่างๆที่มีค่าและมีชื่อเสียงของโลก เช่น ภาพเขียน La Jaconde หรือภาพโมนาลิซ่า อันเป็นภาพวาดของ Léonard de Vinci จิตกรและสถาปนิกชาวอิตาเลียน
พิพิธภัณฑ์นี้เป็นตึก 3 ชั้น ประกอบด้วยห้องถึง 225 ห้อง มีลวดลายสวยงาม
เป็นอย่างยิ่ง ทางตะวันตกของพิพิธภัณฑ์ติดกับแม่น้ำแซน ภายในมีวัตถุโบราณซึ่งเป็นศิลปะอันล้ำค่าจากชาติต่างๆที่ฝรั่งเศสเคยมีอิทธิพลปกครองมาในอดีต ส่วนใหญ่ได้มาจากตะวันออกกลางและอาณานิคมจากประเทศในเอเซีย เช่น รูป La Victoire de Samothrace, Vénus de Milo
พิพิธภัณฑ์นี้ เปิดให้เข้าชมทุกวัน เว้นวันอังคารและวันหยุดของทางราชการ วันพุธและวันอาทิตย์เปิดให้เข้าชมฟรี
ในปี 1981 Monsieur Ioeh Ming Pei สถาปนิกชาวอเมริกัน ได้เริ่มโครงการสร้างทางเข้าพิพิธภัณฑ์เป็นรูปปิรามิดแผ่นแก้ว ครอบคลุมเนื้อที่บนลาน Napoléon
เพื่อเป็นจุดรวมของทางเข้าพิพิธภัณฑ์อันเป็นศูนย์กลางที่ให้ข้อมูลในการอำนวยความสะดวกแก่นักท่องเที่ยว ใช้เป็นสถานที่นัดพบ ประชาสัมพันธ์ จุดเริ่มต้นของการเที่ยวชมพิพิธภัณฑ์ โดยมีที่สำหรับนั่งพักผ่อน แผนกรับฝากของ ที่ทำการไปรษณีย์ ที่รับแลกเปลี่ยนเงิน สำนักงานท่องเที่ยว แผนกต้อนรับ ห้องประชุม เอนกประสงค์ขนาด 430 ที่นั่ง ห้องสมุด ร้านค้า ภัตตาคาร รวมถึงแผนกบริหารงานบุคคล ห้องเก็บของ ห้องสำหรับงานบูรณะปฏิสังขรณ์ ห้องปฎิบัติการทดลองด้วย การก่อสร้างทุกอย่างเสร็จสิ้นสมบูรณ์ในปี 1995 รวมเวลา 14 ปี

ในปี 1981 Monsieur Ioeh Ming Pei สถาปนิกชาวอเมริกัน ได้เริ่มโครงการสร้างทางเข้าพิพิธภัณฑ์เป็นรูปปิรามิดแผ่นแก้ว ครอบคลุมเนื้อที่บนลาน Napoléon
เพื่อเป็นจุดรวมของทางเข้าพิพิธภัณฑ์อันเป็นศูนย์กลางที่ให้ข้อมูลในการอำนวยความสะดวกแก่นักท่องเที่ยว ใช้เป็นสถานที่นัดพบ ประชาสัมพันธ์ จุดเริ่มต้นของการเที่ยวชมพิพิธภัณฑ์ โดยมีที่สำหรับนั่งพักผ่อน แผนกรับฝากของ ที่ทำการไปรษณีย์ ที่รับแลกเปลี่ยนเงิน สำนักงานท่องเที่ยว แผนกต้อนรับ ห้องประชุม เอนกประสงค์ขนาด 430 ที่นั่ง ห้องสมุด ร้านค้า ภัตตาคาร รวมถึงแผนกบริหารงานบุคคล ห้องเก็บของ ห้องสำหรับงานบูรณะปฏิสังขรณ์ ห้องปฎิบัติการทดลองด้วย การก่อสร้างทุกอย่างเสร็จสิ้นสมบูรณ์ในปี 1995 รวมเวลา 14 ปี

ประตูชัย


"ประตูชัย" หรือชื่อในภาษาฝรั่งเศสว่า "Arc de Triomphe" ซึ่งตั้งอยู่บนถนนช็อง-เอลิเซ่ส์ที่ตำบลเอตัวล์ บริเวณจตุรัสแห่งดวงดาว (Place de l'Etoile) ประตูชัยสร้างและออกแบบโดยสถาปนิกชื่อ "ช็อง ชาลแกร็ง" (Jean Chalgrin) ด้วยการออกแบบแนวนีโอคลาสสิค ซึ่งมีส่วนผสมของศิลปะแบบโรมันอยู่ด้วย สื่อความหมายถึงความสันติสุข และความเป็นปึกแผ่นของราชอณาจักรฝรั่งเศสที่ยิ่งใหญ่
ประตูชัยเริ่มก่อสร้างในปี 1806 ในสมัย พระเจ้านโปเลียนที่1 เพื่อเป็นเกียรติแก่กองทัพฝรั่งเศสกับชัยชนะในยุทธการที่เอาส์เทอลิทซ์ แต่สร้างเสร็จในสมัยพระเจ้าหลุยส์-ฟิลลิปส์ ราวๆปีค.ศ 1836 นับเป็นสิ่งก่อ สร้างที่ใช้เวลาสร้างยาวนานไม่น้อยประตูชัยมีความสูง 50 เมตร หนา 50 เมตร และกว้าง 45 เมตร ภายใต้ซุ้มโค้งประดับด้วยโล่ 30 อัน จารึกถึงการปฏิวัติที่สำคัญๆในฝรั่งเศส รวมถึงสมรภูมิการรบของจักรพรรดินโปเลียนไว้ด้วย ผนังด้านในจารึกชื่อของนายพล 558 ท่าน โดยชื่อของผู้ที่เสียชีวิตในสนามรบจะถูกขีดเส้นใต้เอาไว้ นอกจากจะเป็นอนุสรณ์ถึงนายทหารที่ล่วงลับไปแล้ว ที่ผนังด้านในใต้ส่วนโค้งมีการตกแต่งด้วยรูปสลักอันสวยงามต่างๆซึ่งล้วนเป็นศิลปะที่มีชื่อเสียง เช่น ผลงานชื่อ เดอปาร์ต เดส์ โวล็องติเอส (Depart des Volontiers) หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ ลา มาร์แซย์แยส (La Marseillaise) และผลงานเกี่ยวกับชัยชนะจากสมรภูมิทางทิศตะวันตกของพระเจ้านโปเลียน
ที่ตอนบนของส่วนโค้งเป็นภาพนูนต่ำ แสดงถึงพิธีศพของ มาร์โซ (Marceau) สงคราม อาเล็กซานเดรีย (Alexandrie) ออสเตร์ลิทซ์ (Austerlitz) นอกจากนี้บริเวณภายใต้โค้งแห่งนี้ ยังใช้เป็นที่ฝังศพของทหารนิรนามในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 1 (Le tombeau du Soldat Inconnu) ระหว่าง ค.ศ 1914-1918 ซึ่งยอมสละชีวิตเพื่อประเทศฝรั่งเศส
ปัจจุบันประตูชัยกลายเป็นสถานที่ท่องเที่ยว ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของกรุงปารีส นอกเหนือจากหอไอเฟล นักท่องเที่ยวมากมายจากทั่วโลก หลั่งไหลไปชื่นชมศิลปะที่ สวยงามและความงามของริเวณจตุรัสแห่งดวงดาว (Place de l'Etoile) พร้อมเดินล่องไปตามถนนช็อง-เอลิเซ่ส์ที่หรูหรา และเป็นแหล่งแฟชั่นชั้นนำของโลก

ไปเที่ยวฝรั่งเศสกันเถอะ

แหล่งช้อปปิ้ง

ฝรั่งเศส เรียกได้ว่าเป็นเมืองแฟชั่นก็ว่าได้ เพราะฉะนั้น เสื้อผ้าและสินค้าแฟชั่นของประเทศฝรั่งเศสจึงมีชื่อเสียงมาก โดยเฉพาะถือเป็นศูนย์รวมของดีไซเนอร์ชื่อดัง และเป็นต้นฉบับของแฟชั่นทั่วโลก รูปแบบของเสื้อผ้าจะค่อนข้างทันสมัย สำหรับสินค้าอีกอย่างที่เลื่องลืออย่างมากคือ น้ำหอม นักท่องเที่ยวทั่วไปนิยมซื้อน้ำหอมยี่ห้อที่ฝรั่งเศสเป็นต้นตำรับการผลิต เพราะจะมีราคาถูกกว่าที่นำมาขายในต่างประเทศมาก เมืองที่มีชื่อเสียงในการผลิตหัวน้ำหอมกลิ่นต่างๆ คือ เมืองนีส คานส์ ริเวียร่า ส่วนยี่ห้อน้ำหอมที่โดดเด่นของฝรั่งเศสได้แก่ Christian Dior, Caron, Givenchy, Rochas, Guerlain, Paco Rabanne เป็นต้น

สถานที่ท่องเที่ยวในฝรั่งเศส

              






mercredi 3 août 2011

คำศัพท์ 10 คำ

1. commencer (vt)    ลงมือ,เริ่มทำ
2. miniatures    (a)     รูปจำลอง
3. aider           (vt)     ช่วยเหลือ
4. championnat (m)   แชมป์
5. comiqne      (m)   ตลก
6. route           (nf)   ทางเดิน
7. organiser     (vt)   จัดระเบียบ
8. patron         (n)   ผู้อุปถัมภ์
9. paquet      (nm)   หีบห่อ
10.face            (nf)  หน้าตา

vendredi 8 juillet 2011

Roumanie


Roumanie



România (ro)
Roumanie (fr)
                           (Drapeau de la Roumanie)


Bucarest
44° 25' N; 26° 06'E
Bucarest - 2 082 000 (2003)
Forme de l’État
République semi-présidentielle
Superficie
 - Totale
 - Eau (%)
Classé 78e
238 391 km2
3,0 %
Population
 - Totale (2011)
 - Densité
Classé 49e
21 904 551[2] hab.
94 hab./km2
Indépendance
 - Date
Roumains, Roumaines
0,875 (élevé) (45e)
Nouveau leu roumain
(lei au pluriel) (RON)
UTC +2
Deşteaptă-te, române! (Éveille-toi, Roumain!)
ROU, RO
.ro
+40


Toponymie
România, le nom du pays, est relié à Rome, ancienne capitale de l’Empire romain et à l'Empire byzantin dont le nom officiel était Ρωμανία (Romania). On sait que les Grecs jusqu'au XIXe siècle se définissaient eux-mêmes comme Ρωμαίοι (Roméi) ou Ρωμιοί (Romii)[3] et non Έλληνες (Hellènes, mot qui ne désignait alors que les grecs antiques) et encore moins Βυζαντινοί (Byzantins, mot inventé en 1557). En fait tous les habitants de l'Empire romain d'orient se définissaient comme Ρωμαίοι (Romées), qu'ils fussent Albanais, Arméniens, Aroumains, Grecs ou Roumains. Ce n'est que peu avant la guerre d'indépendance que les Grecs, toujours qualifiés de « Roumis » par les Turcs, vont commencer à se désigner comme Έλληνες (Hellènes), tandis que Roumains et Aroumains continuent à être désignés par l'exonyme de « Valaques ».
L'endonyme români par lequel s'identifiaient les Roumains, ne désignait pas au Moyen Âge une nationalité, mais simplement une origine et une langue communes (limba românească)[4]. Les roumanophones s'identifiaient par leur origine géographique : moldovean (Moldave), ardelean (Transylvain), muntean (de Valachie centrale), oltean (d'Olténie), maramureşean (du Maramureş), bănăţean (du Banat) ou dobrogean (de Dobrogée). Ce sont Émile Ollivier, Élisée Reclus et Edgar Quinet, inventeurs du principe selon lequel on doit désigner un peuple par le nom qu'il se donne lui-même, qui ont imposé dans les langues étrangères le terme de « Roumains » à la place de « Valaques », « Moldo-valaques », « Moldaves », « Moldaviens », « Vlachs », « Volokhs », « Wallachiens » et autres « Romounes » devenus d'ailleurs flous et parfois péjoratifs (voir Origine des roumanophones).
Données spatiales et physiques
Site et situation
Située au sud-est de l'Europe, la Roumanie a des frontières avec (dans le sens horaire) la Bulgarie au sud, la Serbie au sud-ouest, la Hongrie à l'ouest, l'Ukraine au nord, la Moldavie au nord-est, de nouveau l'Ukraine au nord-est et ouverture sur la mer Noire à l'est.
Le bassin central transylvain est séparé de la plaine de Moldavie à l'est par les Carpates et de la plaine de Valachie au sud par les Alpes de Transylvanie.
Les Carpates

Pays limitrophes
Bulgarie, Hongrie, Serbie, Moldavie et Ukraine
Possessions maritimes
La Roumanie a 24 milles nautiques de zone contiguë et 12 mille nautiques de mer territoriale.
Frontière avec l'Ukraine
Concernant l'extrémité orientale de leur frontière commune, la Roumanie et Ukraine ont porté devant la Cour internationale de justice de La Haye un conflit qui les oppose sur cinq îles du bras danubien de Chilia et sur le partage du plateau continental autour et au sud de l'Île des Serpents, dont les 12 200 km2 contestés pourraient receler 100 milliards de mètres cubes de gaz[5]. Il s'agit de territoires occupés par l'URSS en 1948, après le Traité de Paix de Paris de 1947. Concernant le plateau continental, la Cour a rendu son arrêt le 3 février 2009, attribuant 2 500 km2 à l'Ukraine, et 9 700 km2 à la Roumanie[6].

Régions traditionnelles
Couvrant une grande aire elliptique de 237 499 kilomètres carrés, la Roumanie est à la 79e place mondiale et à la 12e européenne par sa superficie. Située au nord-est des Balkans, elle occupe la plus grande partie du bassin inférieur du Danube et les régions montagneuses du bassin moyen du même fleuve. Le pays s'étale sur les deux versants des Carpates, qui forment la barrière naturelle entre les deux bassins du Danube.

Carte topographique de la Roumanie

Géologie et pédologie
La position de la Roumanie aux confins des boucliers pannonique, mésique et scythique détermine sa structure géologique articulée autour de l'orogénèse alpine, dont les Carpates sont un prolongement, et dont la boucle sud-est est souvent l'épicentre de séismes. À l'intérieur de cette boucle, le plateau transylvain est surélevé (altitude moyenne 220 m) par rapport aux plaines moldave et valaque. La première est vallonnée par une érosion accentuée au Messinien, alors que le niveau hydrologique de base était très bas et que les cours d'eau ont profondément entaillé le substrat. Ultérieurement, le fond de ces entailles a été en partie comblé. La seconde, comblée plus généreusement au Cénozoïque par les alluvions fluviatiles du Danube, est plus plate. Les roches les plus anciennes, d'âge hercynien, affleurent au sud-est, en Dobrogée. Au Néozoïque des sédiments récents, continentaux, voire éoliens, se sont déposés sur les alluvions fluviatiles et sur les plateaux, avant d'être remaniés par la fonte post-Würmienne. La plaine valaque est fréquemment recouverte de dépôts de lœss.

Géologie de la Roumanie et de ses voisins.


Histoire
Les historiens distinguent quatre périodes dans l'histoire de la Roumanie :
L'histoire des populations dont sont issus les Roumains est bien documentée depuis l'apparition des Thraces et des premiers Daces (Thraces du nord), conquis par l'Empire romain, dont la domination va durer six siècles au sud du Danube et 150 ans au nord d'où Rome s'est retirée au milieu du IIIe siècle. Les populations latinophones du bassin danubien et des Balkans, sujettes ou bien de l'Empire romain d'Orient (au sud du Danube) ou bien des royaumes « barbares » (au nord du Danube), n'auront pas d'État à elles avant 1186, date de la fondation du Regnum Bulgarorum et Valachorum (« royaume des Bulgares et des Valaques ») par les dynasties Deleanu, Caloianu et Asen. Peuplé pour moitié de Bulgares, ce royaume situé à cheval sur les deux rives du bas-Danube ne dure que 63 ans avant d'être remplacé par des Tzarats bulgares (au sud du Danube) et par des banats roumains vassaux de la Hongrie (au nord du Danube). La fusion et l'indépendance des banats nord-danubiens donne au XIVe siècle les principautés de Moldavie et Valachie qui, après quatre siècles d'autonomie sous l'influence ottomane, fusionnent à leur tour en 1859 pour former le Vieux Royaume de Roumanie, dont l'indépendance totale par rapport à l'Empire ottoman sera reconnue en 1878. Le Royaume de Roumanie naît officiellement en 1881.
La fin de la Première Guerre mondiale voit la la Bessarabie, la Transylvanie (hongroise depuis 1867 au sein de la monarchie austro-hongroise), la Bucovine et une partie du Banat voter leur rattachement à la Grande Roumanie qui remplace le Vieux Royaume. Au début de la Seconde Guerre mondiale la Roumanie est pro-Alliée avec son roi anglophile Charles II qui fait tirer sur les fascistes de la Garde de fer, juger et exécuter leur chef Corneliu Zelea Codreanu, et garantir les frontières du royaume par le Royaume-Uni et la France. Par la mer Noire, la Roumanie transfère l'armée et le gouvernement polonais en territoire britannique, à Alexandrie, sur la flotte du SMR sous escorte de la marine de guerre. Allié avec Staline par le Pacte germano-soviétique de 1939, Hitler considère donc la Roumanie, à juste titre, comme une puissance hostile, et l'été 1940, après l'effondrement de la France, l'oblige à céder la Bessarabie à l'URSS, la Transylvanie du nord à la Hongrie et la Dobrogée méridionale à la Bulgarie. La Roumanie ne conserve que la moitié de son territoire de 1918.
Par la suite, Hitler et la Garde de fer renversent le roi et le remplacent par le maréchal Ion Antonescu (qui sera jugé et exécuté à la fin de la guerre). Lors de l'opération Barbarossa, Antonescu engage la Roumanie aux côtés de l'Allemagne en juin 1941 pour récupérer la Bessarabie. Mais il ne se contente pas de cela : il fait occuper par l'armée roumaine la "Transnistrie" (une partie de la Podolie ukrainienne), s'y livre à des atrocités et envoie l'armée roumaine au massacre jusqu'à Stalingrad. Un Conseil national de la Résistance se forme entre les mouvements de partisans, les leaders des partis politiques démocrates interdits, et le roi Michel, qui renversent Antonescu en août 1944: la Roumanie déclare la guerre à l'Axe, engageant 550 000 soldats contre l'Allemagne.
Le 6 mars 1945, un premier coup d'État communiste soutenu par l'URSS met fin au gouvernement issu de la Résistance, et le roi Michel est contraint d'accepter au pouvoir le Parti communiste roumain puis d’abdiquer fin 1947 : la dictature communiste s'abat alors sur le pays. La République socialiste de Roumanie durera jusqu'en décembre 1989, faisant 2 millions de morts civils (chiffre officiel) en 45 ans[19]. Après un second coup d'État, qui le 22 décembre 1989 met fin à un demi-siècle de dictature, de pénuries et d'étouffement de la société civile, le président communiste Nicolae Ceauşescu et sa femme sont condamnés à mort et exécutés suite à un procès très controversé, le jour de Noël 1989[20].
Depuis, la Roumanie évolue dans un contexte international difficile marqué par la transition compliquée vers l'économie de marché. Dans ce contexte et sans aucun Plan Marshall, la Roumanie met 17 ans à se reconstruire suffisamment pour répondre aux conditions léonines posées par l'Union européenne pour l'intégrer, en même temps que la Bulgarie, en janvier 2007[21][22].
Le château de Peleş, ancienne résidence des rois de Roumanie

Démographie
Évolution de la population (recensements)
  • 1859 - 8 600 000   (Valachie et Moldavie sans la Bessarabie et la Bucovine)
  • 1912 - 12 923 600
  • 1930 - 18 052 896 (la Grande Roumanie ; 71,9 % Roumains)
  • 1948 - 15 872 624 (territoire actuel de la Roumanie)
  • 1956 - 17 489 450
  • 1966 - 19 103 163
  • 1977 - 21 559 910
  • 1992 - 22 810 035
  • 2002 - 21 698 181
  • 2007 - 21 537 563

Évolution de la démographie entre 1961 et 2003 (chiffre de la FAO, 2005). Population en millions d'habitants.

Ressources naturelles
La Roumanie possède plusieurs sortes de ressources naturelles :
  • pétrole 
  • gaz naturel 
  • charbon 
  • minerais de fer 
  • sel 
  • terres arables 
  • ressources hydrauliques.

Tourisme
Stations touristiques de la mer Noire
Les stations du littoral s'étalent sur une frange côtière allant du sud de la ville de Constanţa jusqu'à la frontière bulgare. Elles bénéficient d'un long ensoleillement et d'une chaleur tempérée, la moyenne étant de 25 °C en été. 250 254 touristes les ont fréquentées en 2006.

Châteaux
Dracula
Il est difficile de parler de la Roumanie, sans évoquer la célèbre figure du comte Dracula popularisé par l'écrivain irlandais Bram Stoker et des dizaines d'œuvres de l'industrie cinématographique américaine. Grâce à lui, l'image de la Roumanie est associée aux mythes des vampires et de ce personnage fictif inspiré par le nom et les vies de deux princes de Valachie: Vlad II le Dragon (Vlad Dracul, membre de l'ordre du Dragon initié par Sigismond de Luxembourg) et son fils Vlad III l'Empaleur (Vlad Ţepeş). Sa légende associe également (sur des critères non-historiques) la ville médiévale de Sighişoara et le château de Bran, qui sont devenus des destinations touristiques importantes, au détriment d'autres richesses plus authentiques comme la tour de Chindia à Târgovişte, moins spectaculaire mais réellement bâtie sous le règne de Vlad Ţepeş.

Codes internationaux
La Roumanie a pour codes :

Francophonie

La Roumanie fait partie de l'Organisation internationale de la francophonie. À peu près tous les Roumains ayant dépassé l'école primaire, comprenaient et parlaient le français avant 1989, en partie grâce à l'héritage latin commun aux deux langues, mais surtout à cause de la francophilie héritée de l'influence des Lumières au XVIIIe siècle, et de l'aide française à l'unité roumaine durant le XIXe siècle. La composante révolutionnaire de l'identité roumaine doit beaucoup à l'influence française. Jusqu'en 1945, la Roumanie et la France avaient gardé des relations culturelles et politiques étroites, et partagé les mêmes orientations politiques. En 1968 encore, lors de sa visite à Bucarest en mai, Charles de Gaulle était spontanément ovationné à Bucarest, alors qu'il était conspué à Paris[]. Pendant le régime communiste, les journaux métropolitains et de langue française (L'Humanité, Le Monde, Le Figaro, Paris Match, Combat, etc) étaient en vente libre dans le pays. La télévision et la diffusion cinématographique roumaines ont été axées sur les productions francophones. Mais après 1989, les Roumains découvrent une nouvelle France aux yeux de laquelle la Roumanie n'est plus une petite sœur des Balkans, ni une alliée, tandis que Bucarest n'est plus un petit Paris. Aux yeux de cette nouvelle France «politiquement correcte» (à la manière libéralo-petite-bourgeoise), la Roumanie paraît être une région patriarcale, suspecte de connivence avec les valeurs bannies par les sociétés triomphantes d'après 1945. Mais, en effet, la Roumanie est un pays très complexe conservant plusieurs vitesses concernant son identité idéatique. La Roumanie de nos jours est fortement moderniste et profondément traditionnaliste en même temps et dans cet espace multiculturel peuvent co-exister sans problèmes diverses mentalités traditionnelles (archaïques, folkloriques, etc) avec les opinions politiques les plus modernes, en toute liberté d'expression et dans l'esprit du respect des convictions individuelles. Depuis 1989, les produits de la presse métropolitaine et de langue française sont disparus dans les kiosques du pays. Les films francophones sont diffusés surtout sur la chaîne TV Cultural et dans les cinémas francophones du pays. Mais, somme toute, le français est en perte de vitesse face à l'anglo-américain, sauf les puissants centres francophones (Bucarest, Iaşi, etc). Malgré tout, les médias français conservent des antennes en Roumanie. Par exemple, RFI Roumanie (ancienne Radio Delta RFI), seule station de radio francophone en Roumanie, est aussi la plus importante filiale de RFI à l'étranger. Les émissions sont souvent en roumain, mais le soir et la nuit, la station diffuse des émissions en français[50].


ประเทศโรมาเนีย

โรมาเนีย
România (โรมาเนีย)


ที่ตั้งของ ประเทศโรมาเนีย (เขียวเข้ม)
ในทวีปยุโรป (เขียวอ่อนและเทาเข้ม)
ในสหภาพยุโรป (เขียวอ่อน)




เมืองใหญ่สุด






 - 
ประธานาธิบดี


 - 
นายกรัฐมนตรี




 - 
ประกาศ


 - 
เป็นที่ยอมรับ






 - 
รวม


 - 
3%




 - 
ก.ค. 2549 (ประมาณ)
22,303,552 (54)


 - 
2553 (สำรวจ)
21,462,186 


 - 
93.7 คน/ตร.กม. (79)
242.6 คน/ตร.ไมล์


EET (UTC+2)

-
(DST)
EEST (UTC+3)


                  รหัสโทรศัพท์
             40



โรมาเนีย (แต่ก่อนเขียนว่า Rumania หรือ Roumania, โรมาเนีย: România, อังกฤษ: Romania, IPA: [ro.mɨˈni.a]) เป็นประเทศในทวีปยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ มีอาณาเขตทิศตะวันออกเฉียงเหนือจดประเทศยูเครนและประเทศมอลโดวา ทิศตะวันตกจดประเทศฮังการีและประเทศเซอร์เบีย ทิศใต้จดประเทศบัลแกเรีย โรมาเนียมีชายฝั่งบนทะเลดำด้วย

ประวัติศาสตร์

ในอดีต ดินแดนที่เรียกว่า ประเทศโรมาเนียในปัจจุบัน อยู่ภายใต้การปกครองของจักรวรรดิออตโตมัน ต่อมา ได้ประกาศเอกราช โดยได้สถาปนาเป็นประเทศในปี 2421ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 โรมาเนียถูกกองทัพเยอรมนีเข้ายึดครอง แต่กองทัพโซเวียตได้ปลดปล่อยและมีอำนาจเหนือโรมาเนียแทนเมื่อสิ้นสุดสงคราม มีการโค่นล้มระบอบกษัตริย์และเปลี่ยนแปลงการปกครองไปสู่ระบอบเผด็จการคอมมิวนิสต์ ในปี 2490 ในเดือนธันวาคม 2532 ประชาชนได้ก่อการปฏิวัติล้มล้างการปกครองระบอบคอมมิวนิสต์ไปสู่การปกครองระบอบประชาธิปไตย และประกาศใช้กฎหมายรัฐธรรมนูญ ฉบับปี 2534 เป็นกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศ โดยกำหนดแนวนโยบายแห่งรัฐใหม่เป็นรัฐประชาธิปไตยและสวัสดิการสังคม (Democratic and Social State) มีประธานาธิบดีที่มาจากการเลือกตั้งโดยประชาชนเป็นประมุข ภายหลังจากการปกครองแบบระบบคอมมิวนิสต์ของโรมาเนียถูกล้มล้างโดยการปฏิวัติ

การเมือง

การปกครองส่วนท้องถิ่น โรมาเนียแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 40 จังหวัด (judet หรือ County ในภาษาอังกฤษ) กับ 1 เมืองหลวง (municipui หรือ municipalityในภาษาอังกฤษ) และเขตการเกษตร ซึ่งอยู่รอบชานเมืองหลวง ชื่อว่า Ilfov หรือ Agricultural Sector มี 260 เมือง ซึ่งมี 57 เทศบาลเมือง การจัดการปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นไปตามหลักแห่งการปกครองตนเอง และการกระจายอำนาจการบริการสาธารณะ (Public Services)
สถานการณ์การเมืองของโรมาเนีย
เดิมรัฐบาลโรมาเนียเป็นรัฐบาลผสมระหว่างพรรค National Liberal Party (NLP) พรรค Democratic Party (DP) และพรรค Hungarian Democratic Union of Romania (HDUR) อย่างไรก็ดี ในระยะหลัง 2 พรรคใหญ่ คือ พรรค NLP (ของนายกรัฐมนตรี Popescu-Tariceanu) และพรรค DP (ของประธานาธิบดี Basescu) เริ่มไม่ลงรอยกัน อันมีสาเหตุมาจากการที่ประธานาธิบดี Basescu ประกาศจะลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นนายกรัฐมนตรีในการเลือกตั้งทั่วไปในปี 2551 การประกาศตนเป็นคู่แข่งดังกล่าว ทำให้ประธานาธิบดี Basescu และนายกรัฐมนตรี Popescu-Tariceanu เริ่มมีความขัดแย้งมากขึ้น
รัฐบาลชุดปัจจุบันของนายกรัฐมนตรี Popescu-Tariceanu มุ่งให้ความสำคัญกับเรื่องต่างๆ ดังนี้ การเข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรปของโรมาเนีย การแก้ไขปัญหาการฉ้อราษฎร์บังหลวง การปฏิรูประบบศาลให้มีอิสระอย่างแท้จริง การเพิ่มสิทธิเสรีภาพแก่สื่อมวลชน การเสริมสร้างบรรยากาศ การแข่งขันทางเศรษฐกิจอย่างสมบูรณ์ การพัฒนาความสัมพันธ์ทวิภาคีและพหุภาคี การส่งเสริมความสัมพันธ์กับประเทศสมาชิกสหภาพยุโรป และสหรัฐอเมริกา การสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับประเทศเพื่อนบ้าน โดยเฉพาะการแก้ปัญหาข้อขัดแย้งด้านพรมแดนกับยูเครน รวมทั้งการส่งเสริมความสัมพันธ์กับมอลโดวา
เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2550 นาย Mihai Razvan Ungureanu รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ใกล้ชิดนาย Basescu ประธานาธิบดี ได้ลาออกจากตำแหน่ง เนื่องจากมิได้รายงานให้นาย Popescu-Tariceanu นายกรัฐมนตรี ทราบถึงกรณีคนงานชาวโรมาเนีย 2 รายถูกจับกุม เนื่องจากถ่ายภาพในฐานทัพของสหรัฐฯ ในอิรักโดยมิได้รับอนุญาต ซึ่งสื่อต่างประเทศวิเคราะห์ว่า การลาออกของ นาย Ungureanu เป็นการตอกย้ำความไม่ลงรอยกันระหว่างประธานาธิบดี Basescu กับนายกรัฐมนตรี Popescu Tariceanu และเพียงไม่กี่สัปดาห์หลังจากที่โรมาเนียเข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรป รัฐบาลโรมาเนียก็ประสบวิกฤตการณ์ทางการเมือง โดยนายกรัฐมนตรีกล่าวหาประธานาธิบดีว่ามีส่วนได้ส่วนเสียในโครงการสร้างสาธารณูปโภค นอกจากนี้การลาออกของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และการที่ประธานาธิบดีกล่าวหานายกรัฐมนตรีว่าโกหกในเรื่องการผลักดัน การลาออกของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ได้ส่งผลกระทบต่อเสถียรภาพของรัฐบาล ทำให้คาดการณ์ว่า หากรัฐบาลสามารถคงอยู่ต่อไป ก็จะเป็นรัฐบาลไร้เสถียรภาพ หรือหากมีความขัดแย้งอย่างต่อเนื่อง ก็อาจจะนำไปสู่การเลือกตั้งทั่วไปเร็วขึ้นกว่ากำหนด
การที่หัวหน้าพรรคใหญ่ที่ทรงอิทธิพล 2 พรรค ได้แก่ พรรค PNL ของนายกรัฐมนตรี Popescu Tariceanu และพรรค PD ของประธานาธิบดี Basescu มีความขัดแย้งกันเช่นนี้ นำไปสู่การที่นายกรัฐมนตรี Popescu Tariceanu ประกาศปรับคณะรัฐมนตรีใหม่เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2550 โดยการถอดพรรค PD ออกจากพรรคร่วมรัฐบาล ทำให้มีการเปลี่ยนตัวรัฐมนตรีซึ่งมาจากพรรค PD ออก 8 ตำแหน่ง ส่งผลให้พรรคร่วมรัฐบาลใหม่ประกอบด้วยพรรค PNL และพรรค Democratic Union of Hungarians in Romania (UDMR) แทน โดยคณะรัฐมนตรีชุดใหม่ได้รับการรับรองจากรัฐสภาโรมาเนียแล้วเมื่อ วันที่ 3 เมษายน 2550
การเปลี่ยนแปลงคณะรัฐมนตรีชุดนี้มีความสำคัญยิ่ง เนื่องจากเป็นการเปลี่ยนตัวรัฐมนตรีกระทรวงสำคัญ เช่น กระทรวงกลาโหม กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงการรวมตัวของยุโรป กระทรวงมหาดไทย และกระทรวงคมนาคม เป็นต้น ซึ่งจะส่งผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายที่สำคัญของ โรมาเนีย และแม้ว่ารัฐบาลชุดใหม่จะเป็นรัฐบาลเสียงข้างน้อย (ร้อยละ 26) แต่ก็ได้รับการรับรองจากรัฐสภาซึ่งสมาชิกส่วนใหญ่มาจากพรรค PNL คู่ปรับ เนื่องจากสมาชิกรัฐสภาส่วนใหญ่ยังไม่ต้องการให้มีการเลือกตั้งทั่วไปเกิดขึ้น (ตามรัฐธรรมนูญโรมาเนีย หากรัฐสภาปฏิเสธที่จะให้การรับรองรายชื่อคณะรัฐมนตรี 2 ครั้ง ประธานาธิบดีสามารถยุบสภาได้)
ความตึงเครียดทางความขัดแย้งระหว่างประธานาธิบดีและนายกรัฐมนตรีที่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ตลอดจนการถอดพรรค PD ออกจากพรรคร่วมรัฐบาล ส่งผลให้เมื่อวันที่ 19 เมษายน 2550 รัฐสภาโรมาเนียได้มีมติถอดถอนประธานาธิบดี Basescu ด้วยคะแนนเสียง 322 ต่อ 108 ด้วย 19 ข้อหา อาทิ ประธานาธิบดี Basescu พยายามเข้าครอบงำหน่วยงานรัฐ ซึ่งรวมถึงหน่วยงานด้านความมั่นคง และวิพากษ์วิจารณ์ศาล ซึ่งมีผลให้ประธานาธิบดี Basescu ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้จนกว่าจะมีการลงประชามติว่าประชาชนเห็นชอบกับการถอดถอนดังกล่าวหรือไม่เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2550 ซึ่งปรากฏว่า มีผู้มาใช้สิทธิลงประชามติประมาณ 5.8 ล้านคน (หรือประมาณร้อยละ 44 ของจำนวนผู้มีสิทธิออกเสียงทั้งหมด) และปรากฏว่า มีผู้ลงมติสนับสนุนประธานาธิบดี (คัดค้านมติของรัฐสภา) ถึงประมาณร้อยละ 75 และมีผู้ลงมติไม่สนับสนุนประธานาธิบดีประมาณร้อยละ 25 ซึ่งผลการลงประชามติในครั้งนี้แสดงให้เห็นถึงชัยชนะของประธานาธิบดี Basescu ที่มีต่อรัฐสภาและรัฐบาล และแสดงให้เห็นถึงความนิยมของประชาชนที่มีต่อประธานาธิบดี Basescu พร้อมกันนี้ นาย Jose Manuel Barosso ประธานคณะกรรมาธิการยุโรปได้กล่าวแสดงความหวังว่า ผลการลงประชามติดังกล่าว จะมีส่วนสนับสนุนให้โรมาเนียดำเนินการปฏิรูปสังคมในด้านต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ด้านการยุติธรรม ต่อไป

การแบ่งเขตการปกครอง

ประเทศโรมาเนียแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 41 เทศมณฑล (counties) กับ 1 เทศบาลนคร (municipality) ได้แก่
เคาน์ตี
เมืองหลวง
(เทศบาลนครบูคาเรสต์)

ภูมิศาสตร์

โรมาเนียเป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุดใน ยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ มีเทือกเขาทรานซิลเวเนียแอลป์อยู่ทางตอนกลางของประเทศ และมีเทือกเขาคาร์เปเธียนอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ มีที่ราบทางตอนใต้ของเทือกเขาทรานซิลเวเนียแอลป์เป็นที่ทางการเกษตรเรียกว่า วอลลาเชีย โรมาเนียจัดเป็นประเทศที่ยังมีความหลากหลายทางธรรมชาติอยู่มาก โดยทางเมืองแถบทรานซิลเวเนียแอลป์ยังมีสัตว์ป่า เช่น หมีสีน้ำตาล หมาป่าสีเทา แมวป่าบางชนิด และละมั่งอยู่ในปริมาณที่เยอะมากกว่าประเทศอื่นๆในแถบยุโรป ซึ่งลดจำนวนลงเรื่อยๆ

เศรษฐกิจ

โรมาเนียประสบปัญหาเศรษฐกิจถดถอยกว่า 3 ปี ก่อนที่จะสามารถฟื้นตัวขึ้นได้ในปี 2543 จากความต้องการที่เพิ่มมากขึ้นของตลาดสหภาพยุโรป ทั้งนี้ ในช่วงที่ผ่านมา โรมาเนียประสบปัญหาหลัก 4 ประการ คือ (1) การปฏิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจ ปัญหาหนี้สินทั้งของภาครัฐและเอกชน (2) ปัญหาค่าเงินเลตกต่ำ (3) ปัญหาอัตราเงินเฟ้อที่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ และ (4) ปัญหาระบบธนาคาร ซึ่งรัฐบาลโรมาเนียได้พยายามดำเนินมาตรการจำเป็นต่างๆ เพื่อปฏิรูปเศรษฐกิจของประเทศ และระบบราชการ รวมทั้งแก้ปัญหาการขาดความชัดเจนด้านกฎหมาย ปัญหาด้านศุลกากร และปัญหาคอรัปชั่น ซึ่งเป็นอุปสรรคสำคัญต่อการระดมทุนจากต่างประเทศ
ในปี 2545 เศรษฐกิจของโรมาเนียเริ่มมีสภาวะดีขึ้น โดยภาคธุรกิจที่ได้รับการส่งเสริมให้ได้รับการพัฒนาได้แก่ อุตสาหกรรมก่อสร้าง การสร้างทางรถไฟและท่าเรือ และโครงการด้านการพลังงาน โดยได้รับการสนับสนุนจากสถาบันการเงินระหว่างประเทศ และสหภาพยุโรป นอกจากนี้ ยังมีภาคธุรกิจอื่นๆ ที่มีแนวโน้มในศักยภาพ อาทิ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อุตสาหกรรมรถยนต์ เครื่องจักรกล เคมีภัณฑ์และเวชภัณฑ์ ประกันภัย การท่องเที่ยว เฟอร์นิเจอร์ เสื้อผ้าและสิ่งทอ อุตสาหกรรมอาหาร ในการปฏิรูประบบโครงสร้าง รัฐบาลมีโครงการจำหน่ายรัฐวิสาหกิจขนาดใหญ่ อาทิ ธนาคาร Banca Coerciala Romana (BCR) ซึ่งเป็นธนาคารที่ใหญ่ที่สุดในประเทศ และบริษัทน้ำมันแห่งชาติ PETROM และยังมีโครงการแปรรูปรัฐวิสาหกิจด้านพลังงาน เหมืองแร่ และอาวุธ รัฐบาลโรมาเนียจึงต้องกู้ยืมเงินจากสถาบันการเงินต่างๆ มาชำระหนี้สิน โดยเมื่อเดือนกรกฎาคม 2547 กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) ได้อนุมัติเงินกู้ระยะ 2 ปี จำนวน 367 ล้านดอลลาร์สหรัฐให้แก่โรมาเนีย โรมาเนียได้ดำเนินการปฏิรูประบบเศรษฐกิจ เพื่อให้พร้อมในการเข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรป ซึ่งจะทำให้โรมาเนียได้รับเงินช่วยเหลือทางการเกษตรหลายร้อยล้านยูโร ความช่วยเหลือในการพัฒนาระบบขนส่งและสาธารณูปโภค รวมทั้ง เงินลงทุนจากประเทศสมาชิกสหภาพยุโรป เนื่องจากค่างจ้างแรงงานและค่าใช้จ่ายซึ่งถูกกว่าประเทศอื่นๆ ในยุโรป

ประชากร

ประชากร 22.3 ล้านคน (กรกฎาคม 2549) ประกอบด้วย โรมาเนีย (ร้อยละ 89.5) ฮังการี (ร้อยละ 6.6) โรมา (ร้อยละ 2.5) เยอรมัน (ร้อยละ 0.3) ยูเครน (ร้อยละ 0.3)